เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของท่านได้ โดยคลิกที่ปุ่มตั้งค่า  
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

จัดการความเป็นส่วนตัว

คุกกี้ที่มีความจำเป็น (Strictly Necessary Cookies)

เปิดใช้งานตลอด
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการ ใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการใน สาระสำคัญของ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

คุกกี้เพื่อการใช้งานเว็บไซต์ (Functional Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เว็บไซต์ของ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จดจำตัวเลือกต่าง ๆ ที่ท่านได้ตั้งค่าไว้และช่วย ให้เว็บไซต์ส่งมอบคุณสมบัติและเนื้อหาเพิ่มเติมให้ตรงกับการใช้งานของท่านได้ เช่น ช่วยจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้งานของท่าน หรือจดจำการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าขนาดฟอนต์หรือการตั้งค่าต่าง ๆ ของหน้าเพจซึ่งท่านสามารถปรับแต่งได้ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้อาจส่งผลให้เว็บไซต์ไม่สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์

คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม MDES ตัวช่วยเหลือในการเข้าถึงเว็บไซต์
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
Ministry of Digital Economy and Society
Logo DE Ministry. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  • ...
  • ...
  • ...
ดีอีเอส พบ "เฟคนิวส์" บนโลกออนไลน์สูงถึง 3.4 ล้านข้อความต่อสัปดาห์ ขณะที่ข่าวปลอมสนับสนุนค่าตอบแทนผู้นำศาสนาอิสลามชายแดนภาคใต้ ขึ้นแท่นอันดับ 1


       กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอสสรุปสถานการณ์ข่าวปลอมสัปดาห์ล่าสุด พบข่าวปลอมนโยบายรัฐบาลยังนำโด่ง โดยข่าวปลอมที่ประชาชนสนใจมากที่สุด ได้แก่ ธกส.สนับสนุนค่าตอบแทนผู้นำศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปีละ 893 ล้านบาท วอนอย่าหลงเชื่อ หยุดแชร์ หยุดส่งในโลกออนไลน์   

 

           นางสาวนพวรรณ หัวใจมั่น โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ฝ่ายการเมือง (ดีอีเอสเผยถึงผลสรุปการมอนิเตอร์และรับแจ้งข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมช่วงสัปดาห์นี้ (20 – 26  มกราคม 2566 ) พบข้อความที่เข้ามาทั้งหมด 3,397,995 ข้อความ โดยมีข้อความที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ (Verify) ทั้งสิ้น 257 ข้อความ แบ่งเป็นข้อความที่มาจาก Social listening จำนวน 236 ข้อความ และข้อความที่มาจาก Line Official จำนวน 21 ข้อความ รวมเรื่องที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ 124 เรื่อง  ทั้งนี้ ดีอีเอสได้แบ่งข่าวปลอมที่ได้รับความสนใจเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย

 

            กลุ่มที่ 1 :  นโยบายรัฐบาล ข่าวสารทางราชการ ความสงบเรียบร้อยของสังคม ขัดศีลธรรมอันดี และความมั่นคงภายในประเทศจำนวน 71 เรื่อง

กลุ่มที่ 2:   ผลิตภัณฑ์สุขภาพ วัตถุอันตราย เครื่องสำอาง รวมถึงสินค้าและบริการที่ผิด

              กฎหมาย จำนวน 29 เรื่อง

กลุ่มที่ 3 :  ภัยพิบัติ จำนวน 7 เรื่อง

กลุ่มที่ 4 :  เศรษฐกิจ จำนวน 17 เรื่อง  

สำหรับข่าวปลอมทั้ง 4 กลุ่มมีความเกี่ยวเนื่องกับเรื่องโควิค-19 จำนวน 2 เรื่อง

 

            นางสาวนพวรรณ กล่าวต่อว่า เมื่อพิจารณาจากข่าวปลอมที่ได้รับความสนใจลำดับต้น  ในสัปดาห์ล่าสุดนี้พบว่าส่วนใหญ่เป็นข่าวปลอมด้านนโยบายรัฐบาล และสุขภาพ สำหรับข่าวปลอมที่มีคนสนใจสูงสุด 10 อันดับระหว่างวันที่ 20 – 26  มกราคม 2566  ได้แก่

 

            อันดับที่ 1 : ธกสสนับสนุนค่าตอบแทนผู้นำศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 

               ปีละ 893 ล้านบาท

อันดับที่ 2 :  ดื่มน้ำต้มตะไคร้ มะตูมแห้งและเกสรบัวหลวงก่อนนอนช่วยความจำ

อันดับที่ 3  ป้องกันการปวดหัว โดยใช้น้ำตบท้ายทอยเบา  สัก 2 - 3 ครั้ง ทุกวันตอนเช้า

อันดับที่ 4 :  สูตรเครื่องดื่มธัญพืชหรือน้ำอาร์ซี สามารถรักษาโรคมะเร็งได้

อันดับที่ 5 :  รัฐบาลเตรียมสั่งทุบวัดในเขตอุทยาน 6,000 แห่งทั่วประเทศ

อันดับที่ 6 :  ธนาคารออมสิน ส่ง SMS ให้กดรับสิทธิ์กู้เงิน

อันดับที่ 7 :  Mistletoe ยาฆ่าเซลล์มะเร็งทางเลือกใหม่ที่ไม่ทำลายเม็ดเลือดขาว

อันดับที่ 8 :  ออมสินเปิดสินเชื่อให้ยืม เพื่อทำธุรกิจต้องการเงินลงทุนผ่านเพจเฟซบุ๊ก

อันดับที่ 9 :  รัฐบาลเล็งเตรียมเก็บภาษีรถเก่าอายุ 10 ปี กระตุ้นเศรษฐกิจป้ายแดง

อันดับที่ 10 : รับประทานผักกาดขาวเป็นประจำ ช่วยรักษาอาการตับอักเสบ

 

            พร้อมกันนี้ นางสาวนพวรรณ ยังขอความร่วมมือประชาชน เมื่อได้รับข่าวสารข้อมูลผ่านโซเชียล           ควรตรวจสอบให้รอบด้าน เลือกเชื่อ เลือกแชร์ เพื่อความปลอดภัยและรู้เท่าทัน โดยทางกระทรวงดิจิทัล           เพื่อเศรษฐกิจและสังคมได้ติดตามความเคลื่อนไหวข้อความที่ผิดปกติในทุกช่องทางและได้มีการติดตามการกระทำผิดอย่างต่อเนื่องเพื่อปกป้องประชาชนจากมิจฉาชีพในทุกรูปแบบ หากท่านได้รับการแจ้งข้อมูลที่ผิดปกติ ผ่านเอสเอ็มเอสหรือทางโทรศัพท์ เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น สามารถติดตามและแจ้งเบาะแสข่าวปลอม ได้ผ่านช่องทางต่าง  ของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ดังนี้ ไลน์ @antifakenewscenter เว็บไซต์https://www.antifakenewscenter.com/ ทวิตเตอร์ https://twitter.com/AFNCThailand และช่องทางโทรศัพท์โทรสายด่วน GCC 1111 ต่อ 87

 

______________



icon-sitemap    std-w1    std-w2    WCAG 2.0 (Level AA)
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ Loading...


กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

120 หมู่ 3 ชั้น 6-9 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

ติดตามข่าวสาร


facebook
instagram
twitter
youtube
rss